วันอังคารที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2551

วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551





หมู่ที่ 5 บ้านนาต้นจั่น
ประวัติโดยย่อ แหล่งท่องเที่ยววิถีชีวิต
บ้านนาต้นจั่น เป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย ๑. การทอผ้าตามใต้ถุนบ้าน
จังหวัดสุโขทัย เริ่มก่อตั้งเมื่อประมาณ 160 ปีที่แล้ว โดยราษฎรใน ๒. งานประเพณีลงผีบ้าน
หมู่บ้านอพยพมาจากทางภาคเหนือคือ จังหวัดลำปาง และบางส่วน ๓. งานสรงน้ำเจ้าพ่อเมืองด้ง
อพยพมาจาก เมืองลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ภาษาที่ใช้จึงเป็นภาษาเหนือ - แห่น้ำขึ้นโฮง
ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ดอน ชาวบ้านส่วนใหญ่อาศัยลำห้วยแม่ราก - งานบุญเดือน ๓
ในการประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม คือทำนาทำไร่ และทำสวนผลไม้ - งานบุญออกพรรษา
เมื่อว่างจากฤดูเก็บเกี่ยวทางการเกษตร สตรีในหมู่บ้านจะทำการทอผ้า - งานฉลากข้าวพลัดผลไม้เดือน ๗
จนถึงทุกวันนี้ ชาวบ้านนาต้นจั่นได้มีการอนุรักษ์การทอผ้าแบบดั้งเดิม - บุญข้าวหลาม
โดยใช้กี่พื้นเมืองทอเป็นลวดลาย เรียกว่า ผ้ายกดอก ทอเป็นผ้าสไบ ผ้าถุง
ผ้าตัดเสื้อ หรือตามประโยชน์ใช้สอยและได้มีการพัฒนาลวดลายเพิ่มขึ้น
เช่น ลายดอกพิกุล ลายดอกบัว ลายสารภี ฯลฯ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
สวนเกษตรของผู้นำเกษตรก้าวหน้า (นายบุญช่วย ท้าวนาม )
สวนทุเรียนต้นทุเรียนสองร้อยปี (บ้านนายสุทัด)
น้ำตกห้วยตม น้ำตกห้วยฮ้อม
สวนธรรมชาติ ห้วยแม่พานลอง
หมู่ที่ 5 บ้านนาต้นจั่น
ผู้ใหญ่บ้าน ชื่อ ..นายบุญยืน พลฤทธิ์
บ้านนาต้นจั่น มีพื้นที่จำนวน 6000 ไร่ ดังนี้ พื้นที่ราบ 1000 ไร่ ภูเขา 3000 ไร่ พื้นน้ำ 500 ไร่ พื้นที่ป่าไม้ 2500 ไร่
มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
- ทิศเหนือจดกับตำบลแม่สิน
- ทิศใต้จดกับบ้านปากทรวง
- ทิศตะวันออกจดกับบ้านดงย่าปา
- ทิศตะวันตกจดกับปากทรวง
จำนวนประชากรมี 531 คน แยกเป็น ชาย 271 คน หญิง 260 คน
มีจำนวนครัวเรือนในหมู่บ้าน 123 ครัวเรือน
สถานศึกษา
บ้านนาต้นจั่นมีโรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านนาต้นจั่น
สถานบริการสาธารณสุขหมู่บ้าน มีดังนี้ ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน
บ้านนาต้นจั่นมีวัด 1 แห่ง คือ วัดนาต้นจั่น
ไฟฟ้า และโทรคมนาคม
- ครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้มีจำนวน 123 ครัวเรือน
การเดินทางของราษฎร ระยะทางระหว่างหมู่บ้านถึงที่ว่าการอำเภอ 35 กิโลเมตร
ระยะทางระหว่างหมู่บ้านถึงศาลากลางจังหวัด 108 กิโลเมตร
ยานพาหนะที่นิยมใช้คือ รถสองแถวประจำทาง, รถยนต์ส่วนตัว และรถมอเตอร์ไซค์
เศรษฐกิจ/อาชีพ
หมู่บ้านนาต้นจั่นใต้มีร้านค้าทั่วไป 3 แห่งพนักงานที่เป็นสมาชิกอยู่ในหมู่บ้าน 3 คน รายได้เฉลี่ย20000 บาท ต่อปีต่อคน
อาชีพของชาวบ้านหมู่ที่ 5 ตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย จะประกอบ
อาชีพเกษตรกรรมรับจ้างทั่วไป ค้าขาย
ทำการเกษตรจำนวน 129ครัวเรือน อาชีพค้าขาย 3 ครัวเรือน
อาชีพหลักของเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกลางสาดและทุเรียน อาชีพเสริมปลูกพืชผักทั่วไป เช่น พริก มะเขือ
แหล่งน้ำที่ใช้ประโยชน์ในการอุปโภคบริโภค
- แหล่งน้ำที่ใช้ประโยชน์ในหมู่บ้านนาต้นจั่นได้แก่ น้ำปะปาจำนวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ 120 ครัวเรือน
- แหล่งน้ำธรรมชาติของบ้านนาต้นจั่นมี 2 แห่ง คือ ห้วยแม่พานลอง มีจำนวนที่ใช้ประโยชน์ 40 ครัวเรือน และห้วยแม่รากมีจำนวนที่ใช้ประโยชน์ 80 ครัวเรือน
- แหล่งน้ำขนาดเล็ก คือ บ่อน้ำตื้น มีจำนวน 80 แห่ง มีจำนวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ 85ครัวเรือน และสระน้ำ 2 แห่ง มีจำนวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ 4 ครัวเรือน


ประเพณีสรงน้ำเจ้าพ่อเมืองด้ง พิธีสรงน้ำเจ้าพ่อเมืองด้ง จัดขึ้นที่ตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย ในวันที่ 19 เมษายนของทุกปี หากปีใดวันที่ 19 เมษายนตรงกับวันพระจะเลื่อนการทำพิธีก่อนหรือหลังเพียง 1 วัน ของวันที่ 19 เมษายน เมื่อถึงวันงานบ้านใดที่มีช้างก็จะนำช้างมาอาบน้ำให้สะอาด แต่งตัวให้เล็กน้อย แล้วขี่ช้างไปรวมกันที่ศาลเจ้าพ่อเมืองด้งซึ่งตั้งอยู่ที่บ้านปลายนา เมื่อถึงเวลาผู้เข้าทรงเจ้าพ่อเมืองด้งจะขึ้นสู่ศาลเจ้าพ่อรับการรดน้ำจากชาวบ้านที่นำขบวนช้างมา ผู้เข้าทรงเจ้าพ่อเมืองด้งจะให้พรทุกคน หลังจากนั้นขบวนช้างก็จะแห่กันไปที่อนุสาวรีย์เจ้าพ่อเมืองด้ง ทำพิธีบวงสรวงเจ้าพ่อเมืองด้ง และกราบคารวะ



สูตรฟิสิกส์


1. ความเร็วคลื่น
คือ ความยาวคลื่นT คือ คาบf คือ ความถี่
2. ความเร็วคลื่นในเส้นเชือก
T คือ แรงตึงเชือกคือ มวลต่อหนึ่งหน่วยความยาว
3. ความยาวคลื่น เมื่อแหล่งกำเนิดมีการเคลื่อนที่
คือ ความยาวคลื่นด้านหน้า คือ ความยาวคลื่นด้านหลัง v คือ ความเร็วของคลื่น คือ ความเร็วของแหล่งกำเนิดคลื่น
4. ความต่างเฟส
คือ ความต่างเฟส คือ ระยะห่างของจุด 2 จุดบนคลื่น คือ เวลาที่ใช้
5. สโตรโบสโคป
คือ ความถึ่ของคลื่น คือ ความถี่ของสโตรโบสโคปที่เราหมุนn คือ จำนวนช่องของสโตรโบสโคป
6. การหักเหของคลื่น
คือ มุมตกกระทบ หรือ มุมสะท้อน
7. มุมวิกฤต( )
8. การแทรกสอดของคลื่น เมื่อแหล่งกำเนิดทั้งสองปล่อยคลื่นออกมามีเฟสตรงกัน
AN หมายถึง สมการปฏิบัพ (Antinode)N หมายถึง สมการบัพ (Node)
ถ้าคลื่นที่ออกมามีเฟสตรงข้ามกัน สูตรจะสลับสมการกัน
9. การแทรกสอดของคลื่น ที่จุดไกลจากแหล่งกำเนิดมากๆ
AN หมายถึง สมการปฏิบัพ (Antinode)N หมายถึง สมการบัพ (Node)
ถ้าคลื่นที่ออกมามีเฟสตรงข้ามกัน สูตรจะสลับสมการกัน
10. การแทรกสอดหลังจากคลื่นเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบเดี่ยวออกไปแล้ว
AN หมายถึง สมการปฏิบัพ (Antinode)N หมายถึง สมการบัพ (Node)
เสียงและการได้ยิน
1. เปรียบเทียบความเร็วเสียงในที่ที่อุณหภูมิ(หน่วย K)ต่างกัน ความดันเท่ากัน
2. ความเร็วเสียงในอุณหภูมิองศาเซลเซียส
3. อัตราเร็วเสียงในของแข็ง
Y คือ มอดูลัสความยืดหยุ่นของของแข็งคือ ความหนาแน่น
4. อัตราเร็วเสียงในของเหลว
B คือ มอดูลัสความยืดหยุ่นของของเหลว
5. อัตราเร็วเสียงในแก๊ส
P คือ ความดันของอากาศคือความจุความร้อนจำเพาะเมื่อความดันคงที่คือความจุความร้อนจำเพาะเมื่อปริมาตรคงที่
6. ความถึ่ของบีตส์
7. ความถี่ของเสียงที่ได้ยิน
8. ความเข้มเสียง (หน่วย watt/m.m)
P คือ กำลังเสียงของแหล่งกำเนิดเสียง
9. ระดับความเข้มเสียง (หน่วย เดซิเบล, db)
คือ ความเข้มเสียงต่ำสุดที่มนุษย์ได้ยิน โดย
10. ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์
คือ ความยาวคลื่นด้านหน้าคือ ความยาวคลื่นด้านหลังคือ ความเร็วแหล่งกำเนิดคือ ความถี่แหล่งกำเนิด
11. ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ ความถี่ที่ผู้สังเกตได้รับ
คือ ความถึ่แหล่งกำเนิดu คือ ความเร็วเสียงคือ ความเร็วผู้สังเกตคือ ความเร็วแหล่งกำเนิด
ในการใช้สูตรนี้ ในการแทนค่า จะต้องคำนึงถึงเครื่องหมายด้วย ว่าจะกำหนดให้ทิศทางใดเป็น + ทิศทางใดเป็น -
12. คลื่นกระแทก
แสงและการมองเห็น
1. จำนวนภาพที่เกิดขึ้น เมื่อวางกระจก 2 บาททำมุม กัน
หากคิดได้เศษทศนิยม ให้ปัดขึ้นเป็นจำนวนเต็ม
2. ระยะโฟกัส
S คือ ระยะวัตถุ (ถ้าอยู่หน้าเลนส์ เป็น บวก , อยู่หลังเลนส์ เป็น ลบ)S' คือ ระยะภาพ (ถ้าภาพจริง เป็น บวก , ภาพเสมือน เป็น ลบ)
3. กำลังขยาย
I คือ ความสูง(ขนาด)ภาพO คือ ความสูง(ขนาด)วัตถS คือ ระยะวัตถุS' คือ ระยะภาพ ุ
4. การนำเลนส์หลายๆอันมารวมกัน จะได้ กำลังขยายรวม คือ
5. การนำเลนส์มาวางประกบกัน จะได้ ระยะโฟกัสรวม คือ
6. กำลังของเลนส์
7. ดรรชนีหักเหของตัวกลาง
c คือ อัตราเร็วแสงในสูญญากาศ โดย v คือ อัตราเร็วแสงในตัวกลางนั้นๆ
8. ดรรชนีหักเหของวัตถุตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
n คือ ดรรชนีหักเหv คือ อัตราเร็วแสงในวัตถุคือ ความยาวคลื่นคือ มุมตกกระทบ หรือ มุมหักเห
9. มุมวิกฤต ( ) เป็นมุมที่ทำให้เกิดการสะท้อนกลับหมด นั่นก็คือ มุมหักเหมีค่า 90 องศา
10 ความยาวกล้องจุลทรรศน์
คือ ระยะภาพของเลนส์ใกล้วัตถุ คือ ระยะวัตถุของเลนส์ใกล้ตา
นั่นก็คือ ความยาวกล้อง มีค่าเท่ากับ ระยะห่างของเลนส์ทั้ง 2
11. ปริมาณแสง (มีหน่วยเป็น ลูเมน, lm)
I คือ ความเข้มการส่องสว่าง มีหน่วยคือ แคนเดลา (Cd)
12. ความสว่าง (มีหน่วยเป็น ลูเมนต่อตารางเมตร หรือ ลักซ์)
F คือ ปริมาณแสงA คือ พื้นที่หน้าตัด



ฟิสิกส์ 1(ภาคกลศาสตร์)
ฟิสิกส์ 1 (ความร้อน)
ฟิสิกส์ 2
กลศาสตร์เวกเตอร์
โลหะวิทยาฟิสิกส์
เอกสารคำสอนฟิสิกส์ 1
ฟิสิกส์ 2 (บรรยาย)

ฟิสิกส์พิศวง
สอนฟิสิกส์ผ่านทางอินเตอร์เน็ต
ทดสอบออนไลน์
วีดีโอการเรียนการสอน
แผ่นใสการเรียนการสอน
เอกสารการสอน PDF
หน้าแรกในอดีต
ภาพประจำสัปดาห์
คลื่นนิ่ง (Standing Wave)
สีเหลือง แสดงคลื่นนิ่งซึ่งเป็นผลรวมของคลื่นสองขบวนที่มีความยาวคลื่นเท่ากันวิ่งสวนทางกันด้วยอัตราเร็วเท่ากัน
สีน้ำเงิน แสดงคลื่นวิ่งไปทางขวา
สีฟ้า แสดงคลื่นวิ่งไปทางซ้าย



ทั่วไป
การทดลองเสมือน
บทความพิเศษ
ตารางธาตุ(ไทย1) 2 (Eng)
พจนานุกรมฟิสิกส์
ลับสมองกับปัญหาฟิสิกส์
ธรรมชาติมหัศจรรย์
สูตรพื้นฐานฟิสิกส์
การทดลองมหัศจรรย์
กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เดอ บรอยล์ ( De Broglie Wave)
เนื่องจากแสงในสภาพทั่วไปเป็นพลังงานซึ่งแสดงคุณสมบัติอย่างเด่นชัดออกมาในลักษณะของคลื่น เช่น การเลี้ยวเบน การแทรกสอด และไอน์สไตน์ยังพบว่า แสงแสดงคุณสมบัติเป็นอนุภาคได้ตามปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตรอน
เดอ บรอยล์ จึงมีความคิดว่า เมื่อแสงแสดงคุณสมบัติอนุภาคได้ อนุภาคก็น่าจะแสดงคุณสมบัติเป็นคลื่นได้เช่นกัน
คลิกค่ะ


คลื่นนิ่งในเส้นเชือก เกิดจากการซ้อนทับของคลื่น 2 ขบวนที่มีอัมปลิจูดเท่ากัน เราจะสังเกต เห็นว่าตำแหน่งบนตัวคลื่นรวม จะมีตำแหน่งที่การขจัดเท่ากับศูนย์ตลอด( Node) และบาง ตำแหน่งมีการขจัดเปลี่ยนไปเป็นมากสุดและน้อยสุดอยู่ตลอด ( Antinode ) แต่ในการมองนั้น ตำแหน่ง Node เห็นได้ชัดเจนตำแหน่งNode และ Node ที่อยู่ถัดกันไปจะเห็นเป็นก้อนเส้นเชือก ของการสั่นซึ่งเราเรียกว่า Loop โดย 1 Loop ยาวเท่ากับ ความยาวคลื่น/2 เสมอ
บททดสอบ
แบบฝึกหัดกลาง
แบบฝึกหัดโลหะวิทยา
แบบทดสอบ
ความรู้รอบตัวทั่วไป
อะไรเอ่ย ?
ทดสอบ(เกมเศรษฐี)
คดีปริศนา
ข้อสอบเอนทรานซ์
เฉลยกลศาสตร์เวกเตอร์
แบบฝึกหัดออนไลน์

สรรหามาฝาก
คำศัพท์ประจำสัปดาห์
ความรู้รอบตัว
การประดิษฐ์แของโลก
ผู้ได้รับโนเบลสาขาฟิสิกส์
นักวิทยาศาสตร์เทศ
นักวิทยาศาสตร์ไทย
ดาราศาสตร์พิศวง
สุดยอดสิ่งประดิษฐ์
การทำงานของอุปกรณ์ทางฟิสิกส์
การทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ
ท่อสั่นพ้อง
การสั่นพ้องหรือการกำทอน คือปรากฏการณ์ที่เกิดจากระบบ 2 ระบบซึ่งระบบหนึ่งสั่นด้วยความถี่ธรรมชาติ อีกระบบหนึ่งสามารถปรับความถี่ได้ ถ้าเราปรับความถี่ของระบบนี้ให้เท่ากับความถี่ของระบบแรก จะทำให้ระบบแรกสั่นด้วยแอมปลิจูดมากขึ้นและสั่นนาน ปรากฏการณ์นี้เรียกว่าเกิดการสั่นพ้องหรือกำทอน กำทอนของเสียงคือการเกิดคลื่นนิ่งในท่อทดลองนั่นเอง รูปข้างล่างเป็นการเกิดการสั่นพ้อง โดยเราต้องปรับความยาวของท่อทดลอง(โดยการปรับระดับน้ำ)ให้เกิดคลื่นนิ่ง นั่นแสดงว่าขณะนั้นความถี่ของคลื่นนิ่งในท่อทดลองเท่ากับความถี่ของแหล่งกำเนิด
คลิกอ่านต่อค่ะ




คลื่นนิ่งตามความคิดเดอร์บรอยล์
เดอร์บรอยล์ได้อธิบายว่าการที่อิเลคตรอนสามารถเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบนิวเคลียสอยู่ได้โดยไม่สูญเสียพลังงานเพราะอิเลคตรอนประพฤติตัวเป็นคลื่นนิ่ง ซึ่งหมายความว่าความยาวเส้นรอบวงของวงโคจรของอิเลคตรอนจะเท่ากับจำนวนเต็มเท่าของความยาวคลื่นของอิเลคตรอนตามความสัมพันธ์ เมื่อ n คือ วงโคจรที่ 1, 2, 3, .......
คลิกอ่านต่อครับ มองไม่เห็นรูปให้
download มา คลายซิป และ setup ที่เครื่องคอมของท่านก่อนครับ
การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก

การสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือก
ถ้าปลายสุดของตัวกลางถูกยึดตรึงไว้ คลื่นสะท้อนที่ได้จะมีเฟสเปลี่ยนไป 180 องศาหรือมีเฟสตรงกันข้ามกับคลื่นตกกระทบ (ดูภาพซ้าย)
ถ้าปลายสุดของตัวกลางเป็นปลายปล่อย คลื่นสะท้อนที่ได้จะมีเฟสเดียวกับคลื่นตกกระทบ (ดูภาพขวา)
การทดลองเสมือนจริง
การแทรกสอดของคลื่นสองกระบวน

คลิกเข้าสู่การทดลองครับทดลองไม่ได้ให้ setup ก่อนครับ
คลิกค่ะ
คลื่นนิ่ง
Standing Waves



ดูคลื่นนิ่งในไวโอลิน คลิกครับ
ดูคลื่นนิ่งในขลุ่ย คลิกครับ
ดูคลื่นนิ่งในเปียโน คลิกครับ
คลิกเข้าไปทดลองครับ ถ้าดูไม่เห็นท่านต้อง setup java ก่อนครับ

เตาอบไมโครเวฟ

อบขนมฟู
คลื่นนิ่ง
การกำทอน
การปูกระเบื้อง
แม่เหล็ก
การหมุนของน้ำ
ไมโครเวฟกับน้ำ

ถ้าดูไม่เห็นท่านต้อง setup java ก่อนครับ
โมดการสั่นของโซ่
ิ นำที่หนีบกระดาษมา 30 อัน ต่อกันเป็นเส้น จับปลายข้างหนึ่งด้วยนิ้วมือ และให้ปลายอีกข้างหนึ่งห้อยไว้อย่างอิสระ สั่นเส้นโซ่โดยค่อยปรับความถี่การสั่นให้มากขึ้น คุณจะได้เห็นโมดของการสั่นตั้งแต่โมดที่ 1 ซึ่งสั่นด้วยความถี่น้อย จนถึงโมดที่ 3 ที่สั่นด้วยความถี่มากกว่า
Mode 1
Mode 2
Mode 3
การทดลองเรื่องคลื่นนิ่ง

ในห้องทดลองเสมือนนี้ เป็นการทดลองคลื่นสถิตในเส้นเชือก โดยเราสามารถเปลี่ยนแรงตึงเชือก FT หรือมวลของเส้นเชือกต่อหน่วยความยาว m/L และความถี่ f
กราฟแนวนอนในรูปภาพแสดงความถี่ f1 , f2 , f3 ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับค่า FT กับ มวลของเส้นเชือกต่อหน่วยความยาว เพื่อจะให้เกิดการกำทอน และคลื่นสถิต โดยเป็นไปตามสมการ

กำหนดค่าเริ่มต้นให้ = 100 g/m และ FT = 1.0 N เปลี่ยนค่า f จนได้ค่า f = 1.6 Hz สังเกตว่าเกิดอะไรขึ้น ต่อไปเปลี่ยนความถี่ขึ้นเป็น f2 = Nf1 = 2f1 = 3.2 Hz กดที่นี่หรือที่รูปภาพเพื่อเข้าสู่การทดลอง
ในภาพเป็นการยกหยดน้ำด้วยเสียงอัลตร้าโซนิก เครื่องกำเนิดเสียงความถี่สูงจะสร้างความถี่เสียงจากข้างล่างขึ้นไปข้างบน และสะท้อนจากข้างบนลงข้างล่าง เมื่อช่องว่างเหมาะสมเกิดเป็นคลื่นนิ่งขึ้น ยกหยดน้ำอยู่ในบริเวณที่เป็นโนด
ภาพคลื่นนิ่งของความถี่คลื่นเสียง 1868 เฮิรตช์ ที่เกิดขึ้นบนตัวไวโอลิน เกิดขึ้นจากการโรยทรายบนตัวไวโอลิน โดยที่ทรายจะไปกองกันอยู่บริเวณที่เป็นโนด

ภาพคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้นบนขอบแก้ว บริเวณที่เป็นสีขาวคือส่วนที่เกิดโนด ภาพนี้ถ่ายด้วยวิธี interferometric holography

ดนตรีแก้วในโลกมืด
นักดนตรีตาบอดเล่นดนตรีบนถ้วยแก้ว ได้อย่างน่าประหลาดใจมาก ท่านจะได้ฟังเสียงเพลง "แก้วกัลยา" ที่ไพเราะ คลิกครับ
แผ่นใสการเรียนการสอน

คลื่นนิ่ง
เป็นภาษาอังกฤษล้วน จำนวน 52 แผ่น ดูง่ายไม่ซับซ้อน ภายในแผ่นใสประกอบด้วย คลื่นในเส้นเชือก โมดต่างๆของการสั่น คลื่นเสียงในดนตรี นาโนกีตาร์ และอื่นๆอีกมากมาย คลิกค่ะ

การซ้อนทับกันและคลื่นนิ่ง

คลื่นและอนุภาค Superpositin Principle คลื่นกล การซ้อนทับกันของคลื่นในสปริง ประเภทของการแทรกสอด ของนิรันดร์ เจริญกูล คลิกครับ
สมการทั่วไปของคลื่นกล

ประเภท การเคลื่อนที่ คุณลักษณะ สมการของคลื่นกล อัตราเร็วของคลื่นกล กำลังและความเข้มของคลื่น หลักการซ้อนทับและการแทรกสอดของคลื่น และคลื่นนิ่ง
คลิกค่ะ

เอกสารการสอน PDF

การทดลองคลื่นนิ่งในเส้นเชือก
อุปกรณ์ประกอบด้วย
รอก
เครื่องกำเนิดความถี่
เส้นลวด
มวลที่ใช้แขวน
แท่งแม่เหล็ก คลิกค่ะ

ปรากฎการณ์คลื่น ของ อาจารย์ พัชรี รักบำรุง
คลิกค่ะ
วีดีโอการเรียนการสอน
คลื่นนิ่ง 1 มิติ

คลื่นนิ่ง 1 มิติ
ดูด้วย windows media คลิกที่โลโก้ครับ
คลื่นนิ่ง 2 มิติ

คลื่นนิ่ง 2 มิติ
ดูด้วย windows media คลิกที่โลโก้ครับ

เสียงดนตรีกับคลื่นนิ่ง

เสียงดนตรี กับคลื่นนิ่ง
โน๊ตตัว C ของเสียงเปียนโน สมบัติการเลี้ยวเบนของคลื่นตรงมุมตึก และการทดลองการเลี้ยวเบนบนถาดคลื่น คุณสมบัติร่วมของการแทรกสอดและการเลี้ยวเบน ขนาด 2.3 MB คลิกครับ


การทดลองแก้วนักดนตรี หาแก้วแชมเปญ หลายๆใบ ใส่น้ำลงไป แตะนิ้วให้เปียก และนำนิ้วไปถูกที่ขอบแก้ว จะเกิดเสียงขึ้น คลิกครับ




Main Menu




Home
วีดีโอ
แผ่นใส
เอกสาร PDF
การทดลองเสมือนจริง
ภาพและเสียงทางวิทยาศาสตร์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
มุมเกมส์
แบบฝึกหัดออนไลน์
สิ่งประดิษฐ์์
นักวิทยาศาสตร์
ความรู้รอบตัว
การทดลอง
บทความฟิสิกส์
บทความทั่วไป
บทความทั้งหมด
คมวาทะ
เพลง
บุุคคลที่มีชื่อเสียง
โปรแกรม


ผลของคลื่นนิ่ง 2
(Chladni-Patterns-on-a-Square-plate)

คลิกครับ

ผลของคลื่นนิ่ง 1 (Standing-Wave-Effect)

คลิกครับ
คลื่นนิ่ง (Standing-wave)

คลิกครับ
หยดน้ำในอวกาศ (Physics-of-Fluids---Waves-i)

คลิกครับ
คนนับพันเดินบนสะพานแขวน (Millenium-Bridge)

คลิกครับ
คลื่นตามยาว (Longitudinal-wave)

คลิกครับ
สั่นสะเทือนน้ำในแก้ว (Kool-water-effect)

คลิกครับ


ประกาศและกระดานข่าวภาคฯ
ผลสอบประจำเทอม
โฮมเพจที่น่าสนใจ
บุคคลากรในภาคฯ
หลักสูตรของภาควิชา
ทัศนศึกษา

ฟิสิกส์
วิทยาศาสตร์
การทดลองเสมือนจริง
โฮมเพจน่าสนใจ
นานาสาระ
ผลสอบเก่าและคลังข้อสอบ
ทั่วไป
ภาพ
วิทยาศาสตร์วาทะ
เกม
ภาพนักฟิสิกส์ระดับโลก
แปลกแต่จริง
ข้อสอบเก่าเฉลยข้อสอบ
ผลสอบเก่า ๆ
วิธีการตัดเกรด T-score
ภาพสี่สีของจักรวาล
ภาพตลกทางวิทยาศาสตร์
พจนานุกรมภาพวิทยฯ
ภาพดาราศาสตร์ประจำวัน
ภาพดาราศาสตร์ต่อสัปดาห์(ไทย)

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฟิสิกส์ 1
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฟิสิกส์ 2
หนังสือฟิสิกส์ 1
หนังสือฟิสิกส์ 2 (อ.วัขระ)
หนังสือฟิสิกส์ 1 ภาคความร้อน
กลศาสตร์เวกเตอร์
คู่มือปฏิบัติการ ฟิสิกส์ 1
คู่มือปฏิบัติการ ฟิสิกส์ 2
หนังสือฟิสิกส์ 1
คู่มือการเรียนหนังสืออิเล็ทรอนิกส์ ฟิสิกส์ 1
คู่มือการเรียนหนังสืออิเล็ทรอนิกส์ ฟิสิกส์ 2
หนังสือฟิสิกส์ 2

การเรียนการสอนฟิสิกส์ 1 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต

1. การวัด 2. เวกเตอร์ 3. การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ 4. การเคลื่อนที่บนระนาบ
5. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 6. การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 7. งานและพลังงาน
8. การดลและโมเมนตัม 9. การหมุน 10. สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง 11. การเคลื่อนที่แบบคาบ
12. ความยืดหยุ่น 13. กลศาสตร์ของไหล 14. ปริมาณความร้อน และ กลไกการถ่ายโอนความร้อน
15. กฎข้อที่หนึ่งและสองของเทอร์โมไดนามิก
16. คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร 17. คลื่น 18.การสั่น และคลื่นเสียง

การเรียนการสอนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต

1. ไฟฟ้าสถิต 2. สนามไฟฟ้า 3. ความกว้างของสายฟ้า 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
5. ศักย์ไฟฟ้า 6. กระแสไฟฟ้า 7. สนามแม่เหล็ก 8.การเหนี่ยวนำ
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ 10. ทรานซิสเตอร์ 11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ
12. แสงและการมองเห็น
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ 14. กลศาสตร์ควอนตัม
15. โครงสร้างของอะตอม 16. นิวเคลียร์ 17. การสอนไฟฟ้าแม่เหล็กของมหาวิทยาลัยรังสิต

การเรียนการสอนฟิสิกส์ทั่วไป ผ่านทางอินเตอร์เน็ต

1. จลศาสตร์ ( kinematic) 2. จลพลศาสตร์ (kinetics) 3. งานและโมเมนตัม
4. ซิมเปิลฮาร์โมนิก คลื่น และเสียง 5. ของไหลกับความร้อน 6.ไฟฟ้าสถิตกับกระแสไฟฟ้า
7. แม่เหล็กไฟฟ้า 8. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับแสง
9. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ อะตอม และนิวเคลียร์




How Things Work
สถาบันวิจัยวิทยฯและเทคโนฯแห่งประเทศไทย
BBC
Scientific American
ห้องสมุดวิทยพัฒน
ภูมิปัญญาไทย
MTEC
ี่จุฬาออนไลน์
NECTEC
ONEC
วารสาร Update
วิทยาศาสตร์รายวัน
108 สิ่งประดิษฐ์ของโลก
HowStuffWorks.com
BIOTEC
สสวท
สวทช
thaiware
ไทยคลีนิค
New Scientist
องค์การอวกาศนาซา
สมาคมดาราศาสตร
ฟิสิกส์สาร
สารานุกรมฟิสิกส